hartmansfirestone.com

บทที่8 กระบวนการตรวจสอบภายใน by Job Tinnapat

บทที่8 กระบวนการตรวจสอบภายใน by Job Tinnapat

สำนักหอสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม ได้จัดส่งบุคลากรเข้าร่วมโครงการ สัมมนา เรื่อง "ปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน" จัดโดยยคณะกรรมการตรวจสอบประจำมหาวิทยาลัยสยาม คณะกรรมการฯได้เชิญวิทยากร อาจารย์สมภพ อมาตยกุล ซึ่งท่านเป็นวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบและควบคุมภายใน และเป็นกรรมการตรวจสอบ มหาวิทยาลัยสยาม จัดอบรมใน วัน พฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม 25 65 เวลา 09. 00 – 12. 00 น.

งานตรวจสอบภายในมีลักษณะอย่างไร? - ทรัพยากรบุคคล - 2022

ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการกำกับดูแลที่ดี (Good Corporate Governance) และความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน (Transparency) ป้องกันการประพฤติมิชอบหรือการทุจริต และเป็นการลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจนทำให้การดำเนินงานำม่บรรลุวัตถุประสงค์ 2. ส่งเสริมให้เกิดการบันทึกบัญชีและรายงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) ทำให้องค์กรได้ข้อมูลหรือรายงานตามหน้าที่ที่รับผิดชอบและเป็นพื้นฐานของหลักความโปร่งใส (Transparency) และความสามารถตรวจสอบได้ (Auditability) 3. ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน (Efficiency and Effectiveness of Performance) ขององค์กร เนื่องจากการตรวจสอบภายในเป็นการประเมิน วิเคราะห์ เปรียบเทียบข้อมูลทุกด้านในการปฏิบัติงาน จึงเป็นข้อมูลสำคัญที่ช่วยปรับปรุงระบบงานให้สะดวก รัดกุม ลดขั้นตอนที่ซ้ำซ้อน และให้เหมาะสมกับสถานการณ์ตลอดเวลา ช่วยลดเวลา และค่าใช้จ่าย เป็นสื่อกลางระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในการประสานงาน และลดปัญหาความไม่เข้าใจในนโยบาย 4. เป็นมาตรการถ่วงดุลแห่งอำนาจ (Check and Balance) ส่งเสริมให้การจัดสรรการใช้ทรัพยากรขององค์กรเป็นไปอย่างเหมาะสมตามลำดับความสำคัญ เพื่อให้ได้ผลงานที่เป็นประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร 5.

วันที่: 3 กรกฎาคม 2562 09:54:23 1498 อ่าน ประเภท กลุ่มตรวจสอบภายใน ฉบับ/ที่ กลุ่มตรวจสอบภายใน ชื่อเรื่อง กระบวนการตรวจสอบภายใน หน่วยงาน กลุ่มตรวจสอบภายใน อัพเดจล่าสุด 3 กรกฎาคม 2562 09:54:23 ไม่พบข้อมูล ไฟล์แนบ ฟอร์มที่เกี่ยวข้องภายใต้หมวดเดียวกัน กลุ่มตรวจสอบภายใน Print

กระบวนการตรวจสอบภายใน กรมบัญชีกลาง

ยุคปัจจุบัน (Recent Times) ได้แผ่ขยายข้ามมาจากประเทศอังกฤษผ่านทางทะเลไปประเทศสหรัฐอเมริกา ชาวอังกฤษผู้มั่งคั่งลงทุนมหาศาลในกิจการของประเทศสหรัฐอเมริกา ดังนั้น ผู้ลงทุนจึงต้องการการตรวจสอบอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับเงินที่นำไปลงทุน ผู้ตรวจสอบบัญชีได้นำวิธีการตรวจสอบเข้ามาแพร่หลาย ในยุคปัจจุบันนี้ประเทศที่ถือว่าเป็นผู้นำการพัฒนางานตรวจสอบคือสหรัฐอเมริกา โดยในปี ค. ศ. 1886 ได้จัดตั้งสมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (AICPA) โดยเน้นการตรวจสอบการบันทึกรายรับรายจ่ายทางบัญชี ระหว่าง ค. 1941-1980 เศรษฐกิจเจริญเติบโตอย่างสม่ำเสมอ การบริหารงานเป็นระบบ ผู้บริหารได้เพิ่มการตรวจสอบการปฏิบัติการ (Operation Audit) อีกประเภทหนึ่ง ในปี ค. 1972 สำนักงานตรวจสอบภาครัฐบาล (GAO) ได้กำหนดมาตรฐานการตรวจสอบว่าจะต้องมีการตรวจสอบทั้งด้านการเงิน การบัญชี และด้านความประหยัด ประสิทธิภาพ และประสิทธิภาพของการดำเนินงานด้วย สำหรับการตรวจสอบในประเทศไทย เริ่มจากการสอบบัญชีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ. 2472 ในปี พ. 2491 ได้จัดตั้งสมาคมนักบัญชีและผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ปี พ. 2532 ได้จัดตั้งสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย การพัฒนาการตรวจสอบภายในของภาคธุรกิจเอกชนที่เห็นเป็นรูปธรรมเริ่มจากความต้องการของตลาดหลักทรัพย์ตั้งแต่ พ.

  • เสารั้ว เสาอัดแรง เสาลวดหนาม ภาชี พระนครศรีอยุธยา - เสาลวดหนาม.com
  • กระบวนการตรวจสอบภายใน
  • หวย 1 10 62 3
  • บท บูชา แม่ย่านาง รถ
  • ราคา msx 2017
  • Baikal giant b ขาย ที่ดิน
  • ขนม ไทย พัทยา
  • นางอาย (ละครโทรทัศน์) - วิกิพีเดีย
  • Fino classic ราคา 2564
  • เราเที่ยวด้วยกัน
  • ตัวอย่าง Bullet Train ซับไทย | ภาพยนตร์
  • Man u วัน นี้

สัมมนา กระบวนการตรวจสอบและควบคุมภายในตามแนวทางของ COSO - ห้องสมุด มหาวิทยาลัยสยาม

คุณต้องการทำธุรกิจของคนอื่นเพื่อหาเลี้ยงชีพหรือไม่?

2535 และในปี พ. 2542 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้กำหนดให้ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทมหาชนต้องจัดระบบการควบคุมภายในและตรวจสอบในองค์กรของตนและเผยแพร่ในรายงานประจำปี สำหรับการพัฒนางานตรวจสอบของภาคราชการ เริ่มมีมาตั้งแต่ปี พ. 2505 ตามระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ. 2505 กำหนดให้ส่วนราชการแต่งตั้งข้าราชการในหน่วยงาน เป็นผู้ตรวจสอบภายใน รับผิดชอบการตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินรวมทั้งการก่อหนี้ผูกพันงบประมาณรายจ่ายของเจ้าของงบประมาณนั้นๆ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2519 กำหนดให้ทุกส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปต้องมีผู้ตรวจสอบภายใน ในปี พ.

กระบวนการตรวจสอบภายใน

(บทความ: องค์ความรู้ด้านการตรวจสอบภายใน) วิวัฒนาการ หลักการ และประโยชน์ของการตรวจสอบภายใน วิวัฒนาการของการตรวจสอบภายใน สมัยก่อนงานตรวจสอบภายใน ส่วนใหญ่เป็นงานหนึ่งในส่วนของฝ่ายบัญชี ผู้ตรวจสอบภายในทำหน้าที่ตรวจสอบด้านการรับจ่ายเงินว่าตรงตามเอกสาร หรือตามนโยบายหรือตามระเบียนที่กำหนดไว้หรือไม่ แต่ไม่ใช่แนวความคิดของการตรวจสอบภายในในยุคปัจจุบันซึ่งได้ขยายขอบเขตมาเป็นงานตรวจสอบกิจกรรมทุกด้านภายในองค์การและขึ้นตรงกับผู้บริหารระดับสูง ประวัติศาสตร์ของการตรวจสอบภายในอาจแบ่งได้เป็น 4 ยุค ดังต่อไปนี้ 1. ยุคโบราณ (Ancient Times) เริ่มขึ้นก่อนคริสตกาล 3, 500 ปี เป็นบันทึกของอารยธรรมเมโสโปเตเมียแสดงเครื่องหมายเล็กๆ ข้างตัวเลขเกี่ยวกับรายงานทางการเงิน เครื่องหมายจุด ขีด หรือเครื่องหมายถูก แสดงถึงระบบของการตรวจทาน 2. ยุคกลาง (The Middle Ages) เมื่อโรมล่มสลาย จากการขยายตัวทางการค้าของชาวอิตาเลียนระหว่างศตวรรษที่ 13 ทำให้เกิดการจดบันทึกที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ดังนั้น จึงเกิดระบบบัญชีคู่ขึ้นมา กล่าวคือทุกรายการค้าจะบันทึก 2 ด้าน ทั้งด้านเดบิตและด้านเครดิต 3. ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม (The Industrial Revolution) เริ่มต้นในประเทศอังกฤษ องค์กรจ้างนักบัญชีเพื่อตรวจสอบบันทึกทางการเงินมากกว่าการไต่ถามแล้วได้ยิน โดยการตรวจสอบบันทึกทางบัญชีและเปรียบเทียบรายการในสมุดบัญชีกับเอกสารการลงบัญชี 4.

กระบวนการตรวจสอบภายใน กรมบัญชีกลาง

ให้สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า (Warning Signals) ของการประพฤติมิชอบหรือการทุจริตในองค์กร ลดโอกาสความร้ายแรงและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งเพื่อเพิ่มโอกาสของความสำเร็จของงาน