hartmansfirestone.com

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. บอกความหมายและใชค้ ำราชาศพั ท์ได้ถูกต้อง (K, P) 2. ใชท้ ักษะทางภาษาและเทคโนโลยีการสอ่ื สารพัฒนาความรไู้ ด้ (P) 4. สาระการเรยี นรู้ คำราชาศัพท์ (ช่วั โมงที่ 1 หมวดเครอื ญาติ) 5. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขัน้ ที่ ๑ นำเข้าสู่บทเรียน ๑. ครเู ปดิ คลิปเกี่ยวกับคำและความหมายให้นกั เรียนดู ในคลิปมคี ำวา่ พระเสวย พระบัญชร พระ ชนก พระกรรณ จังหนั เป็นตน้ เมอื่ คลปิ จบแล้วครูสนทนากบั นกั เรียนว่า คำเหล่าน้เี รานำไปใช้กบั ใครได้บา้ ง อยา่ งคำวา่ เสวย ใชก้ ับเราได้หรือไม่ เชน่ วันนี้ปรดี าฉนั จังหันแลว้ ยัง ได้หรอื ไม่ ๒. ครพู ดู โยงเข้าเรอ่ื งคำราชาศัพท์ โดยแนะนำให้เห็นวา่ คำแต่ละคำต้องใชใ้ ห้ถกู บุคคล เช่น พระราชา พระสงฆ์ สภุ าพชนท่วั ไป คำเหล่านีเ้ รยี กวา่ "คำราชาศัพท์" ขัน้ ท่ี ๒ กจิ กรรมการเรียนรู้ ๑. ครสู นทนากับนักเรียนเกีย่ วกับ - ความหมายของคำราชาศัพท์ - บคุ คลทตี่ ้องใช้คำราชาศัพท์ - หมวดของคำราชาศัพท์ 2. ครเู ขยี นคำบนกระดาน แล้วใหน้ ักเรียนช่วยกันจำแนกวา่ เปน็ คำราชาศัพท์หมวดใด 1. พระเสวย แปลว่า กนิ หมวด........................... 2. พระอัยกา แปลว่า ปู่หรือตา หมวด........................... 3.

แบบทดสอบเรื่องคำราชาศัพท์ - คำราชาศัพท์น่ารู้

ความสำคัญของราชาศัพท์ ๑. เพื่อให้เราใช้ถ้อยคำในการพูดจาได้ไพเราะ ถูกต้องตามกาลเทศะและฐานะแห่งบุคคล เพราะราชาศัพท์มิได้หมายถึงคำพูดที่เกี่ยวกับพระราชาเท่านั้น ๒. ราชาศัพท์ เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมของชาติ การใช้ราชาศัพท์ที่ถูกต้องเป็นการแสดงความประณีต นุ่มนวล น่าฟังของภาษาอย่างหนึ่ง ตลอดจนเป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของเรา ๓. การเรียนรู้ราชาศัพท์ย่อมทำให้เราเข้าถึงรสของวรรณคดี เพราะในวรรณคดีมีราชาศัพท์ปนอยู่มาก จึงจำเป็นต้องเรียนรู้ราชาศัพท์เพื่อช่วยให้เกิดความซาบซึ้งในรสคำประพันธ์นั้นๆ ๔. การเรียนรู้ราชาศัพท์ช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพให้กับตนเอง ทำให้เข้าวงสมาคมได้โดยไม่เคอะเขิน ไม่เป็นที่เย้ยหยันของบุคคลที่พบเห็น การติดต่อกับบุคคลทั่วไปทั้งในวงสมาคมและวงราชการ หากไม่รู้จักใช้คำสุภาพตามฐานะแล้ว ย่อมได้รับการดูหมิ่นว่าไร้การศึกษา โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้ ความหมายของคำราชาศัพท์ 2. 1 ความหมายของคำราชาศัพท์ คำว่า " ราชาศัพท์ " มีความหมายว่า ศัพท์หรือถ้อยคำสำหนับพระราชา ศัพท์หลวง ศัพท์ราชการ แต่โดยทั่วไป หมายถึง คำสุภาพที่ใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับฐานะหรือสถานภาพของบุคคลต่างๆ ได้แก่ พระมหากษัตริย์ (พระราชา) พระราชวงศ์ ข้าราชการ พระภิกษุและสุภาพชนทั่วไป การใช้ถ้อยคำถูกต้องตามฐานะของบุคคล มี ๕ ชั้น ดังนี้ ๑.

แนวข้อสอบภาษาไทย ป.4 เรื่องคำราชาศัพท์ ชุดที่ 1

พระนางเจ้าฯ พระราชเทวีทรงโสมนัส 4. พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ทรงผนวช 7. ) "พระภิกษุสงฆ์บอกพระเจ้าแผ่นดิน" ควรใช้คำว่าอย่างไร 1. ทูลรายงาน 2. ถวายพระพร 3. กราบทูล 4. สนองรับสั่ง 8. ) ข้อใดมิได้หมายถึงหน้าต่าง 1. พระแกล 2. พระบัญชร 3. สีหบัญชร 4. พระทวาร 9. ) "พนักงาน ตั้งเครื่อง ในห้องส่วนพระองค์" คำที่ขีดเส้นไต้หมายถึงสิ่งใด 1. เครื่องแต่งกาย 2. อาหาร 3. หนังสือ 4. อาภรณ์ 10. ) ข้อใดไม่มีคำราชาศัพท์ประเภทคำสรรพนามขานรับ 1. ข้าพระพุทธเจ้าเป็นผู้ดำเนินการเอง พระพุทธเจ้าข้า 2. ใต้ฝ่าพระบาทจะเสด็จตลาดนัดยามเช้าวันไหนกระหม่อม 3. ขอเดชะ ข้าพระพระพุทธเจ้าขอเบิกตัวผู้ทูลเกล้าฯ ถวายเงินดังนี้ 4. พระอาญาไม่พ้นเกล้าฯ ข้าพระพุทธเจ้าจำต้องกราบทูลในสิ่งที่ไม่บังควร พระพุทธเจ้าข้า 11. ) "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จแปรพระราชฐาน พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์" คำที่ขีดเส้นใต้หมายความว่าอย่างไร 1. ไปพักผ่อน 2. ท่องเที่ยว 3. ย้ายไปชั่วคราว 4. เปลี่ยนภูมิลำเนา 12. หม่อมเจ้าสกุณาทรงรับสั่งถึงพระสหาย 2. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร พอพระทัยช่อดอกไม้ 3. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถกรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พระอนุชา ทิวงคต ในต่างประเทศ 4.

แผนการสอนคำราชาศัพท์ ป.6 - Flip eBook Pages 1-4 | AnyFlip

  • แนวข้อสอบภาษาไทย ป.4 เรื่องคำราชาศัพท์ ชุดที่ 1
  • เรื่องคําราชาศัพท์
  • แผนการสอนคำราชาศัพท์ ป.6 - Flip eBook Pages 1-4 | AnyFlip